วันอาทิตย์ที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2557

สรุปผลการศึกษาครั้งที่ 6 ( พุธที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2557 )

สรุปผลการศึกษาครั้งที่ 6 ( พุธที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2557 )
   สอนการทำ Icon Folder ไฟล์ต่างๆ การทำงานที่ถูกต้องสมควรแยกไฟล์ Artwork = final งานที่ทำเสร็จแล้ว  Rester = stook ps งานที่ยังทำไม่เสร็จ Verter = stook ตราสัญญาลักษณ์ โลโก้ Altemate Design = งานที่ยังทำไม่เสร็จ Ptoto = stook รูปถ่าย
#การใช้ภาพแทนความทรงจำของมนุษย์ Communetation ตามไปดูที่ http://corporateidentitydesign.blogspot.com/ 

Simple => เรียบง่าย แต่เราต้องอธิบายได้ใส่ความคิดลงไป
Memorable => ที่น่าจดจำ
Timeless => ทันสมัย , อมตะ
Versatile => มีความหลากหลายใช้ประโยชน์ได้สุงสุด มีตัวอักษรในการจดจำ
Appropriate => ที่เหมาะสม ตำเหน่งของกราฟิก ต้องแข็งแกร่ง

สัปดาห์หน้า 

- ต้องสร้าง ARTWORK ให้เขา และงานต้องเสร็จหมด

วันเสาร์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2557

สรุปผลการศึกษาครั้งที่ 5 ( พุธที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2557 )

สรุปผลการศึกษาครั้งที่ 5 ( พุธที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2557 )

   สอนการดาวน์โหลดโปรแกรมไฟล์ illustrator cs6   และการเล่นโปรแกรม illustrator cs6 อย่าง
ละเอียดให้ นศ. ทำตามไปด้วยเพื่อความเข้าใจที่ตรงกัน เช่น การตั้งค่าหน้ากระดาษ การทำตัดตก การทำเส้น Grid



      มีการสอนโปรแกรง sketchup เพิ่มเติมมาด้วย เป็นโปรแกรมการทำรูปร่างกล่อง #Text Resolution => 300  Mesh Resolution => 150 ค่าเส้น Grid 0.25

การบ้าน
- ให้ นศ. ไปออกแบบสติดเกอร์โลโก้วิสหากิจที่ นศ. ได้ ขนาด 8x7 มา ส่งภายในวันนี้เที่ยงคืน เพื่อวันที่ 19 จะนำมาเป็นแบบให้เขาเลือกใช้
ตัวอย่าง




วันพุธที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2557

สรุปผลการศึกษาครั้งที่ 4 ( พุธที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2557 )

สรุปผลการศึกษาครั้งที่4 (พุธที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2557)

         มีการแปลสรุปบทความพร้อมวิเคราะห์ไปด้วยทำให้เราให้เห็นภาพไปด้วย อาจารย์ให้ทำโลโก้ดัดแปลงเกี่ยวกับเมล็ดพันธุ์ข้าว
#การเขียนเบอร์โทรศัพท์ที่ถูกต้อง 09 098 3900 #ต่างประเทศ +66909866750 และต้องมีการ
ใส่รหัสไปรษณี

และอาจารย์ก็สอนการพับกระดาษให้เป็นบรรจุภัณฑ์ และให้เราคิดต่อยอดไอเดียเอง 


การบ้าน
- ทำ Visual Analysis ถุงกระสอบข้าว =>  มีกราฟกอะไร ใช้ตัวอักษรอะไร เป็นอย่างไร ทำลงใน โฟร์เดอร์ ART WORK สือมันแปลความหมายว่าอย่างไร วิเคราะห์โลโก้ของเข้า ดูลักษณะภาพว่าเป็นอย่างไร จดทะเบียนการค้าหรือยัง 
- ออกแบบถุงใส่ข้าว พร้อมใส่ข้อมูลมาให้ถูกต้อง 



วันเสาร์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2557

การแปรรูปหมายถึง.....

การแปรรูปหมายถึง......

การแปรรูปสินค้าเกษตร
•คือ กระบวนการเปลี่ยนแปลงรูปร่างและ คุณลักษณะของสินค้า
• ลดปัญหาสินค้าเกษตรกินเนื้อที่มาก และเน่าเสียง่าย
• ตอบสนอง form utility
• เพิ่มมูลค่าสินค้า
• รวมส่วนประสมการตลาด 4Ps ในการเพิ่มมูลค่าสินค้า
• เปลี่ยนแปลงสถานะในการแข่งขัน

การแปรรูปอาหาร (food processing) 
เป็นกระบวนการที่เปลี่ยนแปลงสภาพของวัตถุดิบ ให้เป็นผลิตภัณฑ์อาหารอยู่ใน
สภาพที่เหมาะสม สะดวก และปลอภัยต่อการบริโภค เป็นการถนอมอาหาร เพื่อยืดอายุการเก็บรักษา ทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่
ที่มีความหลากหลาย เพิ่มทางเลือก และเพิ่มมูลค่าให้กับวัตถุดิบ


คัดลอกมาจาก : การแปรรูป

หลักการออกแบบอัตลักษณ์ที่ดี

หลักการออกแบบอัตลักษณ์ที่ดี

1. อยากให้โลโก้ “สื่ออารมณ์” แบบไหน

ก่อนจะเริ่มเลือกสี เลือกรูปทรง เราต้องรู้ก่อนว่าอยากให้ออกมามีอารมณ์แบบไหน ซึ่งอารมณ์ที่เราเลือกก็ควรจะสอดคล้องกับหน้าตาของแบรนด์ที่เราต้องการด้วยครับ

logo-design-compareตัวอย่างเช่น โลโก้ของ Disney สื่อถึง “ความสนุก” และ “การมองโลกในแง่ดี” โดยตัวอักษรโค้งทำให้ดูสนุก และสอดคล้องกับแบรนด์ที่เป็นการ์ตูนน่ารัก ๆ สำหรับเด็กอีกด้วย ซึ่งถ้าเราเอาโลโก้แบบ Disney ไปใช้กับธุรกิจร้านขายของเท่ ๆ ก็คงไม่เหมาะ
นอกจากการดูรูปทรงแล้ว นักออกแบบโลโก้ควรศึกษาเรื่องการใช้สี และอารมณ์ของสีด้วย เช่น สีเขียว มีความหมายเกี่ยวกับการเติบโต สุขภาพ และธรรมชาติ นอกจากนั้นยังให้อารมณ์สดชื่น ผ่อนคลายอีกด้วย ในขณะที่ สีแดง สื่อถึงอันตราย และความกระตือรือร้น
 
การเลือก Font ให้สื่อถึงอารมณ์ก็สำคัญ ฟ้อนต์ Garamond, Helvetica, Comic Sans ต่างให้อารมณ์คนละแบบ ฟ้อนต์มีหาง (Serif) เช่น Garamond สื่อถึงความเคารพ ดั้งเดิม ซึ่งเหมาะกับเว็บไซต์ข่าว หรือมหาวิทยาลัยเก่าแก่ (แต่แอดมินรู้สึกว่าเว็บไซต์มหาวิทยาลัยในไทยส่วนใหญ่จะเน้นความ Modern มากกว่าความเก่าแก่ ใช้ฟ้อนต์ไม่มีหางเท่ ๆ กันหมด)

ส่วนฟ้อนต์แบบไม่มีหาง (Sans-serif) เช่น Helvetica จะให้ความรู้สึก Modern สะอาดตา เหมาะกับธุรกิจเทคโนโลยี หรือสื่อโฆษณา
ฟ้อนต์อีกแบบคือแนวน่ารัก ๆ ไม่เป็นทางการ (Casual) แบบ Comic Sans ซึ่งจะเหมาะกับธุรกิจการ์ตูน อนิเมชั่น หรือร้านขายของเล่น

บทความที่เกี่ยวข้อง: [Free Fonts Download] รวมแหล่งดาวน์โหลด ฟ้อนต์ฟรี แห่งปี !!!

ในการทำโลโก้ให้ออกมาดี เราต้องเข้าใจถึงเรื่องรูปทรง, สี, และตัวอักษร จึงจะทำให้โลโก้สื่ออารมณ์ที่เราต้องการได้


2. อยากให้โลโก้มี “ความหมาย” อย่างไร

โลโก้ที่ดีทุกโลโก้ล้วนมีความหมายอยู่เบื้องหลัง

โลโก้ที่ดีของแบรนด์ไม่ใช่แค่โลโก้ที่เอาชื่อแบรนด์มาจับคู่กับรูปทรงนั้น ๆ เฉย ๆ ซึ่งเป็นสาเหตุที่ว่าทำไมจึงไม่ควรเอาโลโก้สำเร็จรูปมาใช้กับธุรกิจเรา นักออกแบบโลโก้ต้องเข้าใจว่าแบรนด์ทำธุรกิจเกี่ยวกับอะไร มีอัตลักษณ์อย่างไร มี Vision อย่างไร ถึงจะออกแบบมาเป็นโลโก้ที่ดีได้


ดูตัวอย่างจากโลโก้ของเว็บไซต์ชื่อดัง Amazon.com จะเห็นว่ามีลูกศรสีส้มชี้จากใต้ตัว A ไปถึงตัว Z เป็นการบ่งบอกว่า “Amazon มีทุกอย่างขาย ตั้งแต่ A ถึง Z” นอกจากนั้นลูกศรสีส้มยังโค้งเหมือนรอยยิ้ม สื่อถึงหน้าของลูกค้าที่จะยิ้มเมื่อได้รับสินค้าที่ถูกใจนั่นเอง
3. โลโก้ของเราจะมีอายุยืนยาวขนาดไหน

แน่นอนว่าคงไม่มีแบรนด์ไหนที่เปลี่ยนโลโก้ทุกปีเพื่อให้ลูกค้างงเล่น เพราะฉะนั้นนักออกแบบโลโก้ต้องคิดเสมอว่าในอีก 5 ปี, 10 ปี, 20 ปี โลโก้ของเราจะยังดูดีอยู่มั้ย

การเลือกดีไซน์โลโก้ตามเทรนด์ประจำปี หรือโทนสีประจำปีเป็นความคิดที่ไม่ดีครับ เพราะเทรนด์พวกนี้อยู่ไม่กี่ปีก็จะกลายเป็นของเก่าไป นอกจากนั้นเราจะพบว่ามีโลโก้หน้าตา โทนสีคล้าย ๆ เราเต็มไปหมดอีกด้วย

โลโก้ที่มีอายุยืนยาวมักจะเป็นโลโก้ที่เรียบง่าย และจดจำได้ง่าย ซึ่งอาจจะใช้ได้เป็น 10 – 20 ปีโดยที่ไม่ดูเก่าไปเลยด้วยซ้ำ

เทคนิคทดสอบว่าโลโก้เราจะมีอายุยืนยาวมั้ย ให้ทำเสร็จแล้วปล่อยทิ้งไว้สักระยะหนึ่งก่อนนำไปใช้จริงครับ ดูมันทุกวัน ๆ แล้วเรารู้สึกเบื่อมันมั้ย ถ้าเรารู้สึกเบื่อแปลว่าโลโก้ของเราคงมีอายุอยู่ได้ไม่นานครับ


ลองดูตัวอย่างจากโลโก้ของ Apple จะเห็นว่าถ้า Apple เลือกใช้โลโก้ที่ออกแบบในปี 1976 อันซ้ายสุด โลโก้คงตกยุคไปนานแล้วครับ แต่ Apple เลือกใช้อันกลาง ซึ่งมีความเรียบง่าย ทำให้สามารถใช้ต่อมาได้จนถึงทุกวันนี้โดยการเปลี่ยนเป็นสีเรียบเท่านั้นเอง

4. โลโก้ของเรามี “ลักษณะเฉพาะ” มั้ย? โลโก้จดจำง่ายมั้ย?

โลโก้ที่ดีต้องมีลักษณะเฉพาะ ไม่เหมือนใคร และจดจำได้ง่าย ลูกค้าควรจะจดจำรูปทรงโลโก้ของเราได้ตั้งแต่แรกเห็น วิธีการทดสอบง่าย ๆ ว่าโลโก้ของเราจดจำง่ายหรือยาก คือ ให้ลองเอาโลโก้ไปให้เพื่อนของคุณดู เสร็จแล้วอีก 1 สัปดาห์กลับมาถามเพื่อนว่าโลโก้ที่เคยให้ดูมีลักษณะเป็นยังไง คนที่ไม่เคยเห็นโลโก้มาก่อนจะช่วยบอกได้ว่าโลโก้เรามีส่วนไหนที่จดจำง่าย

โลโก้ที่คล้ายกับโลโก้อื่นอาจทำให้คนสับสน และจำแบรนด์เราสลับกับแบรนด์ของคนอื่นได้

ด้านซ้ายของรูป คือ โลโก้ของ Path แอพ Social Network ที่ดังตอนแรก ๆ ส่วนด้านขวา คือ โลโก้ของ Pinterest บริการปักหมุดรูปภาพออนไลน์ชื่อดัง จะเห็นว่า 2 โลโก้นี้มีความคล้ายกันมาก ซึ่งทำให้ผู้ใช้จำผิดได้ง่าย ๆ เลยครับ

5. โลโก้ยังดูออกมั้ยตอนเป็นสีขาว – ดำ

ปกตินักออกแบบโลโก้หลาย ๆ คนจะเริ่มออกแบบจากสีขาว – ดำก่อนครับ ซึ่งการทำแบบนี้จะช่วยให้เรามั่นใจได้ว่าโลโก้ที่ออกมาจะมีรูปทรงที่จดจำได้ง่าย โดยไม่ต้องพึ่งพาสีของโลโก้ โลโก้ที่ดี คือ โลโก้ที่ลูกค้าบอกได้ว่าเป็นแบรนด์อะไร เพียงแค่เห็นรูปทรง

โลโก้ของเราจะถูกนำไปใช้ในสื่อหลากหลายรูปแบบ ซึ่งมีทั้งสื่อขาว-ดำ และสื่อที่มีสีครับ เพราะฉะนั้นการทำให้โลโก้ขาว – ดำมีจุดให้จดจำเพียงพอนั้นสำคัญมาก


จะเห็นได้ว่าโลโก้ของ National Geographic ถ้าเป็นสีขาว – ดำแบบด้านซ้ายจะเหลือแต่สีเหลี่ยมสีดำ ซึ่งดูออกยากมากครับว่าเป็นแบรนด์อะไร แต่ถ้าใส่สีเหลืองเข้ามาก็จะรู้เลยว่าเป็นโลโก้ National Geographic

6. โลโก้ถ้าใช้แบบย่อเล็ก ๆ จะดูออกมั้ย

(แอดมิน: จากที่ทำงานในบริษัทเน้นด้าน Printing ข้อนี้สำคัญมากครับ กาดอกจันทร์ 10 ดอก) บางครั้งโลโก้ก็ถูกนำไปย่อเล็กในสื่อต่าง ๆ ซึ่งถ้าออกแบบโลโก้มาไม่ดี อาจทำให้กลายเป็นก้อนอะไรไม่รู้ก็เป็นได้ครับ

จากรูปด้านบนจะเห็นได้ชัดเลยครับว่าโลโก้ Nike, McDonald, Twitter, และ WWF ดูออกง่ายมากในขนาดเล็ก แต่ถ้าเป็นโลโก้ GE หรือ Starbucks เราดูแทบไม่ออกเลยว่าเป็นโลโก้แบรนด์อะไร

หลักการคิดทั้ง 6 ข้อที่กล่าวมาไม่ได้เป็นกฏตายตัวนะครับ แต่เป็นแนวทางที่ทำให้ออกแบบโลโก้ที่ดีได้ง่ายขึ้น ซึ่งบางครั้งอาจจะไม่ต้องตรงตามวิธีในนี้เป๊ะ ๆ ก็เป็นโลโก้ที่ดีได้เช่นกัน แต่เราก็จะรู้ด้วยตัวเองว่าถ้าทำแบบไหนจะมีข้อดีข้อเสียอย่างไร

ก่อนออกแบบโลโก้ทุกครั้ง ลองถามคำถาม 6 ข้อนี้กับตัวเองดูครับ อาจจะทำให้โลโก้ของเราเป็นโลโก้ที่ดีมากขึ้นก็ได้

คัดลอกมาจาก : http://www.designil.com/how-to-logo-design-tips.html

วิสาหกิจชุมชน คือ ......

วิสาหกิจชุมชน คือ ......

ความหมายของวิสาหกิจชุมชน
วิสาหกิจชุมชน ( SMCE หรือ small and micro community enterprise) หมายถึง กิจการของชุมชนเกี่ยวกับการผลิตสินค้า การให้บริการหรือการอื่น ๆ ที่ดำเนินการโดยคณะบุคคลที่มีความผูกพัน มีวิถีชีวิตร่วมกันและรวมตัวกันประกอบกิจการดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็นนิติบุคคลในรูปแบบใด หรือไม่เป็นนิติบุคคล เพื่อสร้างรายได้และเพื่อการพึ่งพาตนเองของครอบครัว ชุมชนและระหว่างชุมชน 
ความหมายของวิสาหกิจชุมชนโดยสรุป คือ การประกอบการเพื่อการจัดการ " ทุนของชุมชน"
อย่างสร้างสรรค์เพื่อการพึ่งตนเอง"ทุนของชุมชน" ไม่ได้หมายถึงแต่เพียงเงิน แต่รวมถึงทรัพยากร ผลผลิต ความรู้ ภูมิปัญญา ทุนทางวัฒนธรรม ทุนทางสังคม
(กฎเกณฑ์ทางสังคมที่ร้อยรัดผู้คนให้อยู่ร่วมกันเป็นชุมชนเป็นพี่เป็นน้องไว้ใจกัน)

ลักษณะสำคัญของวิสาหกิจชุมชน ( มีองค์ประกอบอย่างน้อย 7 ประการ)
1. ชุมชนเป็นเจ้าของและผู้ดำเนินการ
2. ผลผลิตมาจากกระบวนการในชุมชน โดยใช้วัตถุดิบ ทรัพยากร ทุน แรงงานในชุมชน เป็นหลัก
3. ริเริ่มสร้างสรรค์เป็นนวัตกรรมของชุมชน
4. เป็นฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น ผสมผสานภูมิปัญญาสากล
5. มีการดำเนินการแบบบูรณาการ เชื่อมโยงกิจกรรมต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ
6. มีกระบวนการเรียนรู้เป็นหัวใจ
7. มีการพึ่งพาตนเองของครอบครัวและชุมชนเป็นเป้าหมาย
เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน หมายถึง คณะบุคคลที่รวมตัวกันโดยมีวัตถุประสงค์ในการทำกิจกรรมอย่างหนึ่งอย่างใด เพื่อประโยชน์ในการดำเนินงาน ของวิสาหกิจชุมชนในเครือข่าย



คัดลอกมาจาก : http://donchedi.suphanburi.doae.go.th/page6.htm

สรุปผลการศึกษาครั้งที่ 3 ( พุธที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2557 )

สรุปผลการศึกษาครั้งที่ 3 ( พุธที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2557 )

         เพื่อนออกมาสรุปข่าวเรื่อง Blickfang Medie เป็นสัญลักษณ์ององค์กรเป็นสัญลักษณ์ที่เรียบง่ายและเป็นตัว  B ในแนววิทเทจมีกล้องเป็นตัวช่วย 
         ชี้แจงเรื่องคนที่จะไปงาน เมล็ดพันธุ์ข้าวนี้จะต้องเตรียม โน็ตบุ๊คไปด้วยและมีแบบสอบถามไปด้วยทุกครั้ง ต้องขอ Line , เบอร์โทร เพราะต้องมีการติดต่อสอบถาม ต้องรู้จักเมล็ดพันธุ้ข้าว (พันธุ์พื้นเมือง ไรเบอร์รี่ ข้างกล้อง) ให้ นศ. ไปศึกษางานขอตัวเองอย่างละเอียด Rice Products #ไปหาคำว่า วิสาหกิจชุมชน  #หาหลักการออกแบบอัตลักษณ์ที่ดีมาใส่รายงานกลุ่ม #การแปรรูปหมายความว่าอย่างไร 

สัปดาห์หน้า 
       - ส1 อย่งละเอียด พร้อม ส2 มาให้ดูด้วย
       - หาข้อมูลมาให้มากที่สุดพร้อมรายงานกลุ่ม และ Moodboard => ทำเป็นสลากข้อมูลมาให้ถูกต้อง โทรถามมาเลย ถุงขนาดเท่าไร บรรจุเท่าไร ข้าวพันธุ์อะไร 



วันอังคารที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2557

แปลสรุปบทความ


แปลสรุปบทความ
เรื่อง : การแพร่หลายของความคล้ายคลึงกัน
ออกแบบโดย : Ryan Tym
ที่เมื่อง : ลอนดอน
แปลสรุปโดย : นางสาวเนธิญา ประทุมนันท์
รหัสนักศึกษา : 5511302852 กลุ่มเรียน 101
Email : nethiya5511302852@gmail.com
รายงานวิชา ARTD2307 การออกแบบอัตลักษณ์

The ubiquity of similarity
Here’s “an example of how coincidence can occur without malice.”
The one that got away, by designer Ryan Tym across in London.


                                     

Ryan’s work was pro bono work the non-profit Subterranea Britannica.

“I was convinced that the identity proposal, which abstracted the Union Jack to form a downward arrow to reference the subterranean world, and Britain, was worth pursuing.”
— RYAN TYM

But before his work could be presented to the board, a similar-looking design appeared for Made in Britain, so Ryan decided to pull the idea.



                                 

It’s unfortunate. I’m sure the identity would’ve served Sub Brit well — a relevant, distinctive idea with a clear step up in quality.

                                 

It’s also a quick reminder not to jump to conclusions when two similar logos appear.

“Every day, blogs are filled with comments from designers criticising each other over which identities they have copied to get to their solution. The reality, most of the time, is mere coincidence. Basic shapes, symbols, graphics and letterforms are consistently at the heart of an identity, and the ideas around their usage often overlap.”


แปลโดยตรงจาก (google)
การแพร่หลายของความคล้ายคลึงกัน
นี่คือ "ตัวอย่างของวิธีการบังเอิญสามารถเกิดขึ้นได้โดยไม่ต้องมีความอาฆาตพยาบาท".
คนที่มีออกไปโดยนักออกแบบไรอัน Tym ข้ามในกรุงลอนดอน
การทำงานของไรอันคือโปร bono ทำงาน Subterranea สารานุกรมที่ไม่แสวงหากำไร
"ผมเชื่อว่าข้อเสนอของตนซึ่งใจลอยยูเนี่ยนแจ็คในรูปแบบลูกศรชี้ลงเพื่อการอ้างอิงโลกใต้ดินและอังกฤษเป็นมูลค่าการใฝ่หา".
 - RYAN TYM
แต่ก่อนที่จะทำงานของเขาอาจจะนำเสนอให้คณะกรรมการการออกแบบที่ดูคล้ายปรากฏให้ทำในสหราชอาณาจักรเพื่อให้ไรอันตัดสินใจที่จะดึงความคิด
มันโชคร้าย ฉันแน่ใจว่าตนจะได้ทำหน้าที่ย่อยบริดี - ความคิดที่โดดเด่นด้วยขั้นตอนที่ชัดเจนขึ้นในคุณภาพ
นอกจากนี้ยังเตือนที่รวดเร็วที่จะไม่กระโดดไปสู่ข้อสรุปเมื่อทั้งสองโลโก้ที่คล้ายกันปรากฏ
"ทุกวันบล็อกที่เต็มไปด้วยความคิดเห็นจากนักออกแบบวิจารณ์แต่ละอื่น ๆ ที่ตัวตนของพวกเขาได้ถูกคัดลอกไปจะได้รับการแก้ปัญหาของพวกเขา ความเป็นจริงมากที่สุดของเวลาเป็นเรื่องบังเอิญเท่านั้น พื้นฐานรูปทรงสัญลักษณ์กราฟิกและ letterforms มีอย่างต่อเนื่องในหัวใจของตัวตนและความคิดรอบการใช้งานของพวกเขามักจะซ้อนทับกัน ".

การเรียบเรียงเนื้อหาใหม่
ความแพร่หลายของสิ่งคล้ายคลึงกัน
นี่คือ "ตัวอย่างของความบังเอิญที่สามารถเกิดขึ้นได้โดยไม่เกิดความเสียหาย The one that got awayโดยดีไซเนอร์ Ryan Tym ในลอนดอน งานของไรอันคืองานสารานุกรม Subterranea ที่ไม่แสวงหากำไร ผมมั่นใจว่านี่เป็นเอกลักษณ์ที่แสดงตัวตนของ the Union Jack ในรูปแบบที่ลูกศรชี้ลงซึ่งอ้างถึงโลกใต้ดิน และอังกฤษก็คุ้มค่าในการใฝ่หา — RYAN TYM แต่ก่อนที่จะทำงานของเขาจะถูกนำเสนอให้คณะกรรมการ การออกแบบที่ดูคล้ายกับที่เคยทำในอังกฤษ ดังนั้นไรอันตัดสินใจใส่ไอเดียเข้าไป น่าเสียดาย ฉันแน่ใจว่าสัญลักษณ์นี้ทำหน้าที่เป็นตัวแทนของอังกฤษได้อย่างดี — เป็นความเกี่ยวข้องที่โดดเด่น มีขั้นตอนที่ชัดเจนอย่างมีคุณภาพ นอกจากนี้ยังทำให้นึกออกและสรุปได้อย่างรวดเร็วว่าโลโก้ทั้ง2มีความคล้ายคลึงเมื่ออยู่ด้วยกัน ทุกวัน ในบล็อกเต็มไปด้วยความคิดเห็นจากนักออกแบบที่วิพากษ์วิจารณ์กันซึ่งตัวตนที่พวกเขาได้ถูกคัดลอกไปจะได้รับการแก้ปัญหา ความจริงส่วนมากเป็นเรื่องบังเอิญเท่านั้น พื้นฐานรูปทรงสัญลักษณ์กราฟิกและ รูปแบบตัวอักษร ที่เป็นต้นแบบของสิ่งอื่น และความคิดทั่วๆไปของพวกเค้ามักจะซ้อนทับกัน